วันจันทร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2561

บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

 บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการติดต่อของผู้บริหารมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ความมั่นคงและพัฒนาการขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารจะต้องตัดสินใจการจัดสรรทรัพยากรขององค์การที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้งานการตัดสินใจเป็นบทบาทของผู้บริหารที่มีความสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจขององค์การ การมีสารสนเทศที่ดีและเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูล  รวบรวม  และวิเคราะห์ข้อมูลจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถพิจารณาทางเลือกต่างๆได้อย่างรวดเร็วสามารถคาดการณ์ล่วงหน้าและแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในที่นี้จึงกล่าวถึงระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  (Decision Support System: DSS)  ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน การตัดสินใจของผู้บริหารระดับของการจัดการ  สามารถแบ่งได้  3  ระดับคือ1. การจัดการระดับสูง (Upper-level  management) เป็นสารสนเทศที่มีขอบเขตกว้างและเกี่ยวกับแนวโน้มต่างๆ จากภายในและภายนอกองค์การการจัดการระดับนี้ใช้สำหรับผู้บริหารระดับสูง เช่น ประธานบริษัท และกรรมการผู้จัดการ2. การจัดการระดับกลาง (Middle-level  Management) เป็นการวางแผนยุทธวิธีและประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารงาน ระดับต้นหรือหัวหน้างาน ระบบนี้ใช้สำหรับผู้บริหารระดับกลาง เช่น ผู้อำนวยการ ผู้จัดการฝ่าย3. การจัดการระดับต้น (Lover-level Management)  มีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานประจำวันซึ่งขั้นตอนการทำงานมีรูปแบบที่แน่ นอนและทำงานใกล้ชิดกับผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามแผนของผู้ บริหารระดับกลางระบบนี้ใช้สำหรับผู้บริหารระดับต้น เช่น หัวหน้างานหัวหน้าแผนก
การตัดสินใจ  (Decision Making) ประกอบด้วย  5   ขั้นตอนคือ
1)การใช้ความคิดประกอบเหตุผลเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ ตรวจสอบแยกแยะและกำหนดระยะละเอียดของปัญหาหรือโอกาส
2)การออกแบบเป็นขั้นตอนในการพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้
3)การคัดเลือกเป็นขั้นตอนที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เหมาะสมกับปัญหา และ สถานการณ์มากที่สุด
4)การนำไปใช้เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจแล้ว นำไปปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติว่ามีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง ประการใดและจะต้องนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร
5)การตรวจสอบประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากตัดสินใจว่าเป็นอย่างไรหากมีข้อผิดพลาด สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจเพื่อหาเลือกเลือกใหม่อีกครั้ง
การตัดสินใจ  (Decision Making) ประกอบด้วย  5   ขั้นตอนคือ1)การใช้ความคิดประกอบเหตุผลเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ ตรวจสอบแยกแยะและกำหนดระยะละเอียดของปัญหาหรือโอกาส2)การออกแบบเป็นขั้นตอนในการพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้3)การคัดเลือกเป็นขั้นตอนที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เหมาะสมกับปัญหา และ สถานการณ์มากที่สุด4)การนำไปใช้เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจแล้ว นำไปปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติว่ามีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง ประการใดและจะต้องนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร5)การตรวจสอบประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากตัดสินใจว่าเป็นอย่างไรหากมีข้อผิดพลาด สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจเพื่อหาเลือกเลือกใหม่อีกครั้งการตัดสินใจ  (Decision Making) ประกอบด้วย  5   ขั้นตอนคือ1)การใช้ความคิดประกอบเหตุผลเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ ตรวจสอบแยกแยะและกำหนดระยะละเอียดของปัญหาหรือโอกาส2)การออกแบบเป็นขั้นตอนในการพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้3)การคัดเลือกเป็นขั้นตอนที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เหมาะสมกับปัญหา และ สถานการณ์มากที่สุด4)การนำไปใช้เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจแล้ว นำไปปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติว่ามีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง ประการใดและจะต้องนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร5)การตรวจสอบประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากตัดสินใจว่าเป็นอย่างไรหากมีข้อผิดพลาด สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจเพื่อหาเลือกเลือกใหม่อีกครั้งระดับของการตัดสินใจในองค์กร   ได้ 3  ระดับคือ1. การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์   เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง ทีให้ความสนใจในอนาคต เช่นการกำหนดวิสัยทัศน์ขององค์การ การกำหนดนโยบายและวางแผนระยะยาว2. การตัดสินใจเชิงยุทธวิธี    เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลางเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของผู้บริหารระดับสูงที่กำหนดไว้3. การตัดสินใจเชิงปฏิบัติ   เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับปฏิบัติการหรือหัวหน้างาน เช่นการตัดสินใจในกระบวนการสั่งซื้อ การควบคุมสินค้าคงคลังประเภทของการตัดสินใจ     จัดเป็น    รูปแบบ คือ1.การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structured Decision)  เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับล่างคือมีขั้นตอนหรือกระบวนในการแก้ปัญหาที่แน่ชัดและเป็นโครงสร้างการตัดสินใน เชิงน่าจะเป็น เช่น การสั่งซื้อสินค้าคงคลังซึ่งสามารถทราบการคำนวณจุดสั่งซื้อและทำการสั่งซื้อ เมื่อจำนวนสินค้าต่ำกว่าระดับที่กำหนด2. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง   (Semi-structured Decision)   เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง คือสามารถระบุกระบวนการหรือวิธีการตัดสินใจได้ล่วงหน้าในบางส่วนแต่ไม่มากพอ ที่จะนำไปตัดสินใจได้อย่างแน่นอนอีกส่วนหนึ่งจะต้องใช้ประสบการณ์และ วิจารณญาณของผู้ตัดสินใจหรืออาจต้องอาศัยโมเดลต่างๆ ประกอบเพื่อช่วยให้การตัดสินใจมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การซื้อขายหุ้นการประเมินผลด้านเครดิต3. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง  (Unstructured   Decision) เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงซึ่งเป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่สามารถกำหนดกระบวนการตัดสินใจได้ล่วงหน้าเช่น การคัดเลือกผู้บริหารเข้าทำงาน การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
ส่วนประกอบของระบบDSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3   ส่วน
1.ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนสอบถามข้อมูลสารบัญข้อมูล  ส่วนการดึงข้อมูล ระบบDSSอาจเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลขององค์การหรือคลังข้อมูลเพื่อดึงหรือกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจ
2. ส่วนจัดการโมเดล  (Model   Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ,ระบบจัดการแบบจำลอง  ,  ภาษาแบบจำลองสารบัญแบบจำลองและส่วนดำเนินการแบบจำลอง
3. ส่วนจัดการโต้ตอบ  (Dialogue Management Subsystem)เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานส่วนจัดการความรู้(Knowledge-based Management Subsystem) DSSขั้นสูงจึงจะมีส่วนที่เรียกว่าส่วนจัดการองค์ความรู้
ส่วนประกอบของระบบDSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3   ส่วน1.ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนสอบถามข้อมูลสารบัญข้อมูล  ส่วนการดึงข้อมูล ระบบDSSอาจเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลขององค์การหรือคลังข้อมูลเพื่อดึงหรือกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจ2. ส่วนจัดการโมเดล  (Model   Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ,ระบบจัดการแบบจำลอง  ,  ภาษาแบบจำลองสารบัญแบบจำลองและส่วนดำเนินการแบบจำลอง3. ส่วนจัดการโต้ตอบ  (Dialogue Management Subsystem)เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานส่วนจัดการความรู้(Knowledge-based Management Subsystem) DSSขั้นสูงจึงจะมีส่วนที่เรียกว่าส่วนจัดการองค์ความรู้

ส่วนประกอบของระบบDSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3   ส่วน1.ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนสอบถามข้อมูลสารบัญข้อมูล  ส่วนการดึงข้อมูล ระบบDSSอาจเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลขององค์การหรือคลังข้อมูลเพื่อดึงหรือกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจ2. ส่วนจัดการโมเดล  (Model   Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ,ระบบจัดการแบบจำลอง  ,  ภาษาแบบจำลองสารบัญแบบจำลองและส่วนดำเนินการแบบจำลอง3. ส่วนจัดการโต้ตอบ  (Dialogue Management Subsystem)เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานส่วนจัดการความรู้(Knowledge-based Management Subsystem) DSSขั้นสูงจึงจะมีส่วนที่เรียกว่าส่วนจัดการองค์ความรู้ประเภทของระบบDSSจำแนกออกเป็น  2   ประเภท1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้รูปแบบเป็นหลัก  (Model-drivenDSS)   เป็นระบบจำลองสถานการณ์ และรูปแบบการวิเคราะห์ต่างๆ2.  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูลเป็นหลัก  (Data-drivenDSS)  เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์จากต่างๆเพื่อนำมาวิเคราะห์ต่างๆ เช่น โมเดลบัญชีระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม (Group Decision Support System: GDSS) เป็นระบบแบบโต้ตอบที่ใช้   คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มบุคคลส่วนประกอบของ GDSS1) อุปกรณ์ (Hardware)2) ชุดคำสั่ง (Software)3) ฐานแบบจำลองของระบบ GDSS (Model Base)4) บุคลากร (People)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

  บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การติดต่อของผู้บริหารมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ความมั่นคงและพัฒนาการขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารจะต้อง...