วันจันทร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2561

บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

 บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการติดต่อของผู้บริหารมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ความมั่นคงและพัฒนาการขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารจะต้องตัดสินใจการจัดสรรทรัพยากรขององค์การที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้งานการตัดสินใจเป็นบทบาทของผู้บริหารที่มีความสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจขององค์การ การมีสารสนเทศที่ดีและเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูล  รวบรวม  และวิเคราะห์ข้อมูลจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถพิจารณาทางเลือกต่างๆได้อย่างรวดเร็วสามารถคาดการณ์ล่วงหน้าและแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในที่นี้จึงกล่าวถึงระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  (Decision Support System: DSS)  ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน การตัดสินใจของผู้บริหารระดับของการจัดการ  สามารถแบ่งได้  3  ระดับคือ1. การจัดการระดับสูง (Upper-level  management) เป็นสารสนเทศที่มีขอบเขตกว้างและเกี่ยวกับแนวโน้มต่างๆ จากภายในและภายนอกองค์การการจัดการระดับนี้ใช้สำหรับผู้บริหารระดับสูง เช่น ประธานบริษัท และกรรมการผู้จัดการ2. การจัดการระดับกลาง (Middle-level  Management) เป็นการวางแผนยุทธวิธีและประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารงาน ระดับต้นหรือหัวหน้างาน ระบบนี้ใช้สำหรับผู้บริหารระดับกลาง เช่น ผู้อำนวยการ ผู้จัดการฝ่าย3. การจัดการระดับต้น (Lover-level Management)  มีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานประจำวันซึ่งขั้นตอนการทำงานมีรูปแบบที่แน่ นอนและทำงานใกล้ชิดกับผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามแผนของผู้ บริหารระดับกลางระบบนี้ใช้สำหรับผู้บริหารระดับต้น เช่น หัวหน้างานหัวหน้าแผนก
การตัดสินใจ  (Decision Making) ประกอบด้วย  5   ขั้นตอนคือ
1)การใช้ความคิดประกอบเหตุผลเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ ตรวจสอบแยกแยะและกำหนดระยะละเอียดของปัญหาหรือโอกาส
2)การออกแบบเป็นขั้นตอนในการพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้
3)การคัดเลือกเป็นขั้นตอนที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เหมาะสมกับปัญหา และ สถานการณ์มากที่สุด
4)การนำไปใช้เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจแล้ว นำไปปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติว่ามีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง ประการใดและจะต้องนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร
5)การตรวจสอบประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากตัดสินใจว่าเป็นอย่างไรหากมีข้อผิดพลาด สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจเพื่อหาเลือกเลือกใหม่อีกครั้ง
การตัดสินใจ  (Decision Making) ประกอบด้วย  5   ขั้นตอนคือ1)การใช้ความคิดประกอบเหตุผลเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ ตรวจสอบแยกแยะและกำหนดระยะละเอียดของปัญหาหรือโอกาส2)การออกแบบเป็นขั้นตอนในการพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้3)การคัดเลือกเป็นขั้นตอนที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เหมาะสมกับปัญหา และ สถานการณ์มากที่สุด4)การนำไปใช้เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจแล้ว นำไปปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติว่ามีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง ประการใดและจะต้องนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร5)การตรวจสอบประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากตัดสินใจว่าเป็นอย่างไรหากมีข้อผิดพลาด สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจเพื่อหาเลือกเลือกใหม่อีกครั้งการตัดสินใจ  (Decision Making) ประกอบด้วย  5   ขั้นตอนคือ1)การใช้ความคิดประกอบเหตุผลเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ ตรวจสอบแยกแยะและกำหนดระยะละเอียดของปัญหาหรือโอกาส2)การออกแบบเป็นขั้นตอนในการพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้3)การคัดเลือกเป็นขั้นตอนที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เหมาะสมกับปัญหา และ สถานการณ์มากที่สุด4)การนำไปใช้เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจแล้ว นำไปปฏิบัติและติดตามผลของการปฏิบัติว่ามีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง ประการใดและจะต้องนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร5)การตรวจสอบประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากตัดสินใจว่าเป็นอย่างไรหากมีข้อผิดพลาด สามารถเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจเพื่อหาเลือกเลือกใหม่อีกครั้งระดับของการตัดสินใจในองค์กร   ได้ 3  ระดับคือ1. การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์   เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง ทีให้ความสนใจในอนาคต เช่นการกำหนดวิสัยทัศน์ขององค์การ การกำหนดนโยบายและวางแผนระยะยาว2. การตัดสินใจเชิงยุทธวิธี    เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลางเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของผู้บริหารระดับสูงที่กำหนดไว้3. การตัดสินใจเชิงปฏิบัติ   เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับปฏิบัติการหรือหัวหน้างาน เช่นการตัดสินใจในกระบวนการสั่งซื้อ การควบคุมสินค้าคงคลังประเภทของการตัดสินใจ     จัดเป็น    รูปแบบ คือ1.การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structured Decision)  เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับล่างคือมีขั้นตอนหรือกระบวนในการแก้ปัญหาที่แน่ชัดและเป็นโครงสร้างการตัดสินใน เชิงน่าจะเป็น เช่น การสั่งซื้อสินค้าคงคลังซึ่งสามารถทราบการคำนวณจุดสั่งซื้อและทำการสั่งซื้อ เมื่อจำนวนสินค้าต่ำกว่าระดับที่กำหนด2. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง   (Semi-structured Decision)   เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง คือสามารถระบุกระบวนการหรือวิธีการตัดสินใจได้ล่วงหน้าในบางส่วนแต่ไม่มากพอ ที่จะนำไปตัดสินใจได้อย่างแน่นอนอีกส่วนหนึ่งจะต้องใช้ประสบการณ์และ วิจารณญาณของผู้ตัดสินใจหรืออาจต้องอาศัยโมเดลต่างๆ ประกอบเพื่อช่วยให้การตัดสินใจมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การซื้อขายหุ้นการประเมินผลด้านเครดิต3. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง  (Unstructured   Decision) เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงซึ่งเป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่สามารถกำหนดกระบวนการตัดสินใจได้ล่วงหน้าเช่น การคัดเลือกผู้บริหารเข้าทำงาน การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
ส่วนประกอบของระบบDSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3   ส่วน
1.ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนสอบถามข้อมูลสารบัญข้อมูล  ส่วนการดึงข้อมูล ระบบDSSอาจเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลขององค์การหรือคลังข้อมูลเพื่อดึงหรือกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจ
2. ส่วนจัดการโมเดล  (Model   Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ,ระบบจัดการแบบจำลอง  ,  ภาษาแบบจำลองสารบัญแบบจำลองและส่วนดำเนินการแบบจำลอง
3. ส่วนจัดการโต้ตอบ  (Dialogue Management Subsystem)เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานส่วนจัดการความรู้(Knowledge-based Management Subsystem) DSSขั้นสูงจึงจะมีส่วนที่เรียกว่าส่วนจัดการองค์ความรู้
ส่วนประกอบของระบบDSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3   ส่วน1.ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนสอบถามข้อมูลสารบัญข้อมูล  ส่วนการดึงข้อมูล ระบบDSSอาจเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลขององค์การหรือคลังข้อมูลเพื่อดึงหรือกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจ2. ส่วนจัดการโมเดล  (Model   Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ,ระบบจัดการแบบจำลอง  ,  ภาษาแบบจำลองสารบัญแบบจำลองและส่วนดำเนินการแบบจำลอง3. ส่วนจัดการโต้ตอบ  (Dialogue Management Subsystem)เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานส่วนจัดการความรู้(Knowledge-based Management Subsystem) DSSขั้นสูงจึงจะมีส่วนที่เรียกว่าส่วนจัดการองค์ความรู้

ส่วนประกอบของระบบDSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3   ส่วน1.ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนสอบถามข้อมูลสารบัญข้อมูล  ส่วนการดึงข้อมูล ระบบDSSอาจเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลขององค์การหรือคลังข้อมูลเพื่อดึงหรือกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจ2. ส่วนจัดการโมเดล  (Model   Management Subsystem)  ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ,ระบบจัดการแบบจำลอง  ,  ภาษาแบบจำลองสารบัญแบบจำลองและส่วนดำเนินการแบบจำลอง3. ส่วนจัดการโต้ตอบ  (Dialogue Management Subsystem)เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานส่วนจัดการความรู้(Knowledge-based Management Subsystem) DSSขั้นสูงจึงจะมีส่วนที่เรียกว่าส่วนจัดการองค์ความรู้ประเภทของระบบDSSจำแนกออกเป็น  2   ประเภท1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้รูปแบบเป็นหลัก  (Model-drivenDSS)   เป็นระบบจำลองสถานการณ์ และรูปแบบการวิเคราะห์ต่างๆ2.  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูลเป็นหลัก  (Data-drivenDSS)  เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์จากต่างๆเพื่อนำมาวิเคราะห์ต่างๆ เช่น โมเดลบัญชีระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม (Group Decision Support System: GDSS) เป็นระบบแบบโต้ตอบที่ใช้   คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มบุคคลส่วนประกอบของ GDSS1) อุปกรณ์ (Hardware)2) ชุดคำสั่ง (Software)3) ฐานแบบจำลองของระบบ GDSS (Model Base)4) บุคลากร (People)

บทที่ 7 ระบบวางแผนทรัพยากรขององค์การ

บทที่ 7 ระบบวางแผนทรัพยากรขององค์การ




การทำความเข้าใจขอบเขตของระบบในการวางแผนทรัพยากรองค์กร จากนิยามนั้นเป็นเรื่องยาก
ดังนั้นการได้เห็นตัวอย่างการทำงานของระบบจะช่วยให้จับคู่การทำงานของระบบกับกระบวนการดำเนินธุรกิจของจริงได้ง่ายขึ้น
ในเรื่องนี้จะนำโปรแกรมการวางแผนทรัพยากรองค์กรหนึ่ง ขึ้นมาเป็นตัวอย่าง ซึ่งน่าจะช่วยให้เห็นภาพรวมของระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร โดยทั่วไปได้เป็นอย่างดี แต่นักศึกษาพึงศึกษาเพิ่มเติมจากโปรแกรมอื่นๆ ด้วย เนื่องจาก ซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรองค์กรของแต่ละตัวจะมีขอบเขตและชื่อเรียกระบบย่อยที่แตกต่างกัน และมักจะมีจุดเด่นต่างกัน ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป ในที่นี้แต่ละระบบงานหรือโมดูล (module) อาจจะไม่ตรงกับชื่อที่ปรากฏในโปรแกรมจริง เนื่องจากผู้เขียนต้องการใช้เป็นชื่อกลางๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการทำงานทั่วไปมากกว่าการอิงอยู่กับชื่อที่เฉพาะเจาะจง
1. ระบบงานย่อยในการวางแผนทรัพยากรองค์กร
การวางแผนทรัพยากรองค์กรส่วนมากประกอบด้วยโมดูลที่ตอบสนองการทำงานของแต่ละหน่วยงานทางธุรกิจ (business unit) ขององค์กรทางด้านธุรกิจ ซึ่งเป็นส่วนที่เรียกว่า งานส่วนหลัง (back office) ทั้งส่วนที่เป็นธุรกิจซื้อมาขายไป ธุรกิจบริการ หรืออุตสาหกรรมก็ตาม และมักจะมีโมดูลอื่นๆ เสริมเข้ามาเพื่อรองรับการใช้งานขององค์กร เช่น ระบบพีโอเอส (POS) ระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) ระบบการวางแผนวัตถุดิบ (MRP) ระบบควบคุมงบประมาณ (BOQ) ธุรกิจอัจฉริยะ (BI) เว็บท่าหรือเว็บพอร์ทัล (web portal) หรือโมดูลที่ขยายขอบเขตไปนอกสำนักงาน เช่น การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ การจัดการโซ่อุปทาน เป็นต้น ตลอดจนแอพพลิเคชั่นบนมือถือ (mobile application)
การวางแผนทรัพยากรองค์กรเป็นระบบงานขนาดใหญ่ ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ดังนั้น การนำระบบอื่นมาเชื่อมโยงกับการวางแผนทรัพยากรองค์กรย่อมสามารถทำได้เสมอ และข้อมูลทั้งหมดจะสามารถรวมกันบนมาตรฐานเดียวกันได้ ช่วยผู้บริหารจะสามารถควบคุมการทำงานและเรียกดูรายงานได้ตลอดเวลา
2. โมดูลต่างๆ ในระบบงานส่วนหลังของการวางแผนทรัพยากรองค์กร
จากการวางแผนทรัพยากรองค์กรที่ยกมาเป็นตัวอย่างนั้น โมดูลต่างๆ ที่อาจพบได้ในระบบงานส่วนหลัง (back office)  เช่น ระบบจัดซื้อ (PO) ระบบงานขาย (SO) ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง (IC) ระบบสินทรัพย์และการคำนวณค่าเสื่อม (FA) ระบบบัญชีทั่วไป (GL) ระบบบัญชีเจ้าหนี้ (AP) ระบบบัญชีลูกหนี้ (AR) ระบบควบคุมเช็ค(CQ) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) ระบบควบคุมการผลิต (MRP) ระบบภาษี (TAX) ระบบบริหารคลังสินค้า (WMS) ระบบวางแผนการปฏิบัติงานเพื่อการจัดจำหน่าย(S&OP) และระบบบัญชีการเงิน (FI)
3. หน่วยงานตามความรับผิดชอบในระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร
การวางแผนทรัพยากรองค์กรเป็นระบบที่ใช้ในระดับที่ครอบคลุมทั้งองค์กร (enterprise-wide) สามารถรองรับโครงสร้างองค์กรทั้งองค์กรได้ เป็นระบบที่เป็นศูนย์กลางของทุกระบบงานและทุกส่วนงานหรือโมดูล (modules) ต่างๆ ในระบบงานส่วนหลัง (back office) จึงสะท้อนโครงสร้างองค์กร เพื่อรองรับการดำเนินการและใช้ในการประเมินผลงานตามความรับผิดชอบ (performance base) ตามสายบังคับบัญชา ระบบงานส่วนหลังของการวางแผนทรัพยากรองค์กร จะสามารถกำหนดหน่วยงานตามความรับผิดชอบ (responsibility center) หรือหน่วยธุรกิจ (business unit) ให้เหมาะสมกับกิจการต่างๆ ได้ การวางแผนทรัพยากรองค์กรบางระบบสามารถรองรับองค์กรที่เป็นในรูปของกลุ่มบริษัท รองรับการบริหารงานแบบหลายมิติ (multi-dimensional) ได้ ช่วยให้การประเมินผลงานเป็นไปได้อย่างละเอียด ช่วยให้การจัดสรรทรัพยากร และการจัดสรรต้นทุน เป็นไปอย่างละเอียดและตรงตามความรับผิดชอบ และช่วยให้ประเมินไปถึงลูกค้าหรือคู่ค้าได้ สามารถเปรียบเทียบต้นทุนและผลกำไรแยกตามรายสินค้าได้เป็นอย่างดี ช่วยให้ผู้บริหารนำไปใช้ในการวางกลยุทธ์ขององค์กรทั้งในระยะสั้นไปจนถึง

บทที่ 6 โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และกระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

บทที่ 6 โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และกระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์





ความหมายของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
            ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Business คือ กระบวนการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่าย ที่เรียกว่า องค์การเครือข่ายร่วม Internetworked Network ไม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce การติดต่อสื่อสารและการทำงานร่วมกัน หรือแม้แต่ระบบธุรกิจภายในองค์กร
            พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ การดำเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
            พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการ โดยใช้สื่อิเล็กทรอนิกส์
            พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ ขบวนการที่ใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำธุรกิจที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร  พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้เทคโนโลยีประเภทต่างๆและครอบคลุมรูปแบบทางการเงินทั้งหลาย เช่น ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร แคตตาล็อคอิเล็กทรอนิกส์ การประชุมทางไกล และรูปแบบต่างๆที่เป็นข้อมูลระหว่างองค์กร
            พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ ธุรกรรมทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิงพาณิชย์  ทั้งในระดับองค์กร และส่วนบุคคล บนพื้นฐานของการประมวล และการส่งข้อมูลดิจิทัล ที่มีทั้งข้อความ เสียง และภาพ
            พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ การทำธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับการประมวล และการส่งข้อมูล ที่มีข้อความ เสียง และภาพ  ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการขายสินค้าและบริการด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การขนส่งผลิตภัณฑ์ที่เป็นเนื้อหาข้อมูลแบบดิจิทัลในระบบออนไลน์  การประมูล  การออกแบบทางวิศวกรรมร่วมกัน  การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ  การขายตรง  การให้บริการหลังการขาย  ทั้งนี้ใช้กับสินค้า (เช่น สินค้าบริโภค  อุปกรณ์ทางการแพทย์) และบริการ (เช่น บริการขายข้อมูล  บริการด้านการเงิน บริการด้านกฎหมาย) รวมทั้งกิจการทั่วไป (เช่น สาธารณสุข การศึกษา ศูนย์การค้าเสมือน Virtual Mall)

สรุป
            พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ การทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ต เป็นต้น  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร  โดยการลดบทบาทองค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น  จึงลดข้อจำกัดของระยะทางและเวลาลงได้
ประเภทของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แบ่งออกเป็น
1.       กลุ่มธุรกิจที่ค้ากำไร Profit Organization
-          Business – to – Business (B2B)
คือรูปแบบการซื้อขาย สินค้าระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ เป็นการซื้อขายทีละปริมาณมากๆ          มีมูลค่าการซื้อขาย  แต่ละครั้งเป็นจำนวนมาก เป็นการค้าส่ง เช่น ผู้ผลิตขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลางเป็นธุรกิจนำเข้า - ส่งออก ชำระเงินผ่านระบบธนาคารด้วยการเปิด L/C หรือในรูปของ Bill of Exchangeอื่นๆ
-          Business – to – Customer (B2C)
คือรูปแบบการจำหน่ายสินค้าโดยตรงจากผู้ค้ากับผู้บริโภคโดยตรง เป็นการค้าปลีก
-          Business – to – Business – to – Customer (B2B2C)
หมายถึง การเชื่อมต่อ B2B และ B2C เข้าด้วยกัน นั่นก็คือ เป็นรูปแบบการดำเนินธุรกรรมที่ธุรกิจได้ขายช่วงต่อไปยังภาคธุรกิจด้วยกัน ซึ่งอาจเป็นบริษัทในเครือหรือกลุ่มธุรกิจเดียวกันแต่ในด้านการส่งมอบสินค้าหรือบริการ ก็ยังคงส่งมอบไปยังผู้บริโภคโดยตรงในแต่ละราย หรือองค์กรธุรกิจขายให้องค์กรธุรกิจด้วยกัน แต่องค์กรจะจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าอีกทีหนึ่ง
-          Customer – to – Customer (C2C)
เป็นรูปแบบการซื้อขาย สินค้าระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เช่นการประกาศขายสินค้าใช้แล้ว
-          Customer – to – Business (C2B)
หมายถึง เป็นการดำเนินธุรกรรมระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบการในอีกรูปแบบหนึ่งที่ผู้บริโภคกลับมีสถานะเป็นผู้ค้าและมีบทบาทในการต่อรองเพื่อตั้งราคาสินค้า จากนั้นผู้ประกอบการก็จะนำราคาที่ลูกค้าเสนอมาให้กับผู้ขายปัจจัยการผลิตพิจารณาว่าสามารถจำหน่ายหรือขายได้ในราคานี้หรือไม่ หรือการที่ลูกค้าสามารถระบุตัวสินค้าหรือบริการเฉพาะเจาะจงลงไป แล้วองค์กรเป็นตัวจัดหาสินค้าหรือบริการให้ลูกค้า
เป็นรูปแบบการค้าที่ใกล้ตัวมากๆ จนเรานึกไม่ถึง เป็นรูปแบบการค้าที่ Consumer หรือผู้ใช้นำสินค้ามา Reviews หรือวิเคราะห์สินค้า จนเว็บเราดังมีคนสนใจเข้ามาชมมาก เราก็จะทำธุรกิจ (Business) กับ Amazon โดยการเอาสินค้าที่เกี่ยวข้องกับที่เรา Reviews มาขาย ซึ่งถ้าขายได้ Amazonก็จะแบ่งตังให้กับเรา หรือแม้แต่ Adsense ก็เป็นธุรกิจแบบ C2B คือ Consumer ทำธุรกิจกับ Businessโดยนำเสนอสิ่งที่ Business ต้องการ ซึ่งในกรณี Adsense ที่เขาต้องการก็คือเนื้อหาเว็บที่ดีมีประโยชน์ของ Consumer ที่ทาง Google จะเอาไปขายต่อให้กับพวกที่ต้องการโฆษณาบนเว็บที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสินค้าตนเอง หรือพวกที่ทำ Adwords ไงครับ
-          Mobile Commerce
หรือ M-Commerce หมายถึง การดำเนินกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือการเงิน โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือการค้าขายตามระบบแนวความคิดของระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์E-Commerce ที่ใช้อุปกรณ์พกพาไร้สายเป็นเครื่องมือในการสั่งซื้อและขายสินค้าต่างๆ ทั้งการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรม รวมทั้งการรับ-ส่งอีเมล์ หรือการทำธุรกรรมเชิงพาณิชย์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งมีความสะดวกสบาย ไม่มีข้อจำกัดในการจับจ่าย โดย M-Commerce เป็นการแตกแขนงของเทคโนโลยีที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตัวของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง M-Commerce จะช่วยเร่งอัตราการเติบโตให้กับการดำเนินธุรกรรมผ่านเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ได้เร็วกว่าการใช้เทคโนโลยี E-Commerce
ขอบเขตของ M-Commerce จะครอบคลุมทั้งการดำเนินธุรกรรมระหว่างผู้ดำเนินธุรกิจกับผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ B2C และระหว่างผู้ดำเนินธุรกิจด้วยกันเอง B2B

2.       กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากำไร Non-Profit Organization
-          Intrabusiness (Organization) E-Commerce
อีคอมเมิร์ซภายในองค์กรหรือแบบอินทราออร์ก (Intra-Org E-commerce) คือ การใช้อีคอมเมิร์ซในการช่วยให้บริษัทหรือองค์ใดองค์กรหนึ่งสามารถปรับปรุงการทำงานภายในและให้บริการลูกค้าได้ดีขึ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้
-          การติดต่อสื่อสารภายในองค์กรจะสะดวกรวดเร็วจะได้ผลดีขึ้น โดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ วีดีโอคอนเฟอเรนซ์ และป้ายประกาศ เป็นต้น
   การจัดพิมพ์เอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีพับลิซซิง (Electronic Publishing) ช่วยให้บริษัทสามารถออกแบบเอกสาร จัดพิมพ์เอกสาร และแจกจ่ายเอกสารได้สะดวกรวดเร็ว และใช้ค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ว่าจะเป็นคู่มือข้อกำหนดสินค้า (Product Specifications) รายงานการประชุม เป็นต้น ทั้งนี้โดยผ่านเว็บ
   การปรับปรุงประสิทธิภาพพนักงานขาย การใช้อีคอมเมิร์ซแบบนี้ช่วยปรับปรุงการสื่อสารระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายขาย และระหว่างฝ่ายขายกับลูกค้า ทำให้ได้ประสิทธิภาพดีขึ้น
-          Business – to – Employee (B2E)
การทำธุรกรรมระหว่างธุรกิจกับพนักงาน (Business-To-Employee–B2E) มุ่งเน้นการให้บริการแก่พนักงานในด้านต่าง ๆ เช่น ข้อมูลของสินค้าและบริการ กิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างผู้ประกอบการ องค์กร กับพนักงาน โดยอาศัยระบบเครือข่าย
-           Government – to – Citizen (G2C)
การทำธุรกรรมระหว่างองค์กรของรัฐกับประชาชน (Government-To-Citizen–G2C) เป็นการทำธุรกรรมระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับประชาชนโดยไม่หวังผลกำไร แต่เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้ บริการข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน เช่น การยื่นแบบชำระภาษีของกรมสรรพากร
-          Collaborative Commerce (C-Commerce) เช่น เครือซีเมนต์ไทย
ซี คอมเมิร์ซ (c-Commerce) หรือ Collaborative Commerce เป็นที่รู้จักกันในต่างประเทศได้เป็นเวลานานพอควรแล้วภายหลังจากการเกิดขึ้นของอินเทอร์เน็ต เนื่องจากได้สร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive advantage) แก่บริษัทที่นำไปใช้อย่างเห็นได้ชัด อุตสาหกรรมที่ริเริ่มใช้ ได้แก่ อุตสาหกรรมรถยนต์ และอุตสาหกรรมอากาศยาน และในปัจจุบันได้แพร่ขยายไปยังอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น อิเล็กทรอนิกส์ ก่อสร้าง เครื่องจักร รวมไปถึงอุตสาหกรรมบริการต่างๆ
สำหรับในประเทศไทยซี-คอมเมิร์ซ เริ่มมีการกล่าวถึงมากขึ้น เนื่องจากการตระหนักถึงความสำคัญของการลงทุนทางด้านเทคโนโลยี เพื่อเตรียมความพร้อมในการต่อสู้กับสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงของตลาดโลก และตัวอย่างของความสำเร็จที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ Wasserstein Perella Securities, Inc. ได้ออกรายงานการศึกษาว่า นับจากนี้ไปถึง ปีข้างหน้า บริษัทยักษ์ใหญ่ทางด้านอุตสาหกรรมรถยนต์ทั้งสามของสหรัฐอเมริกา จะสามารถ
-          Exchange – to – Exchange (E2E)
การทำธุรกรรมด้านการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ (Exchange-To-Exchange–E2E) เป็นช่องทางสำหรับใช้แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการระหว่างองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน
-          E-Learning
e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอมการเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น 

บทที่ 5 โทรคมนาคม,อินเตอร์เน็ต,เทคโนโลยีไร้สาย

บทที่ โทรคมนาคม,อินเตอร์เน็ต,เทคโนโลยีไร้สาย

โทรคมนาคม ( Telecommunications) หมายถึง การสื่อสารข้อมูลระยะทางไกลในรูปแบบสัญญาณอีเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในอดีตระบบโทรคมนาคมให้บริการในรูปแบบของสัญญาณเสียงผ่านสายโทรศัพท์ที่เรียกกันว่าสัญญาณในระบบ  อนาลอก (Analog Signal) แต่ในปัจจุบันสัญญาณโทรคมนาคมกำลังจะกลายเป็นการถ่ายทอดสัญญาณในรูปแบบ  ดิจิตอล (Digital Signal) ทั้งหมด
            ระบบโทรคมนาคมเป็นระบบใหญ่ที่มักผูกขาดโดยองค์กรของรัฐในเกือบทุกประเทศทั่วโลก ดังเช่น ในประเทศไทย ได้แก่ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย  ซึ่งได้แปรรูปกิจการมาเป็นบริษัท ทศท.คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) แล้ว  เพื่อให้เกิดการแข่งขันที่เสรีกับองค์กรผู้ให้บริการโทรคมนาคมเอกชนอื่นๆ    ที่เติบโตขึ้นมาโดยลำดับ เพื่อการขยายตัวที่ดีขึ้นในภูมิภาค   และเป็นกิจการสาธารณะที่สามารถเปิดให้บริการได้อย่างเสรีรวมไปถึงการเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เนตกับประเทศอื่นๆในภูมิภาคด้วย     จะนำมาซึ่งการให้บริการที่หลากหลายในด้านการสื่อสารข้อมูล  โดยเฉพาะการสร้าง ถนนสายด่วนข่าวสาร  (Information Super-Highway)    เช่น การโทรคมนาคมผ่านเครือข่ายสื่อสารระบบดิจิตอลความเร็วสูง   ที่สามารถให้บริการทางการศึกษา ค้นคว้าวิจัย   สันทนาการ และการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในระดับชาติ  ระดับภูมิภาค  ตลอดจนระดับโลก และจะเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิตในทศวรรษหน้า
องค์ประกอบและหน้าที่ของระบบโทรคมนาคม

            ระบบโทรคมนาคม ( Telecommunications Systems) คือระบบที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์จำนวนหนึ่งที่สามารถทำงานร่วมกันและถูกจัดไว้สำหรับการสื่อสารข้อมูลจากสถานที่แห่งหนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่ง    ซึ่งสามารถถ่ายทอดข้อความ  ภาพกราฟฟิก เสียงสนทนา และวิดีทัศน์ได้   มีรายละเอียดของโครงสร้างส่วนประกอบดังนี้
            1. เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือเปลี่ยนปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เช่น โทรศัพท์ หรือไมโครโฟน
            2. เครื่องเทอร์มินอลสำหรับการรับข้อมูลหรือแสดงผลข้อมูล  เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์
            3. อุปกรณ์ประมวลผลการสื่อสาร (Transmitter) ทำหน้าที่แปรรูปสัญญาณไฟฟ้าให้เหมาะสมกับช่องสัญญาณ เช่น โมเด็ม (MODEM) มัลติเพล็กเซอร์ (multiplexer) แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier)ดำเนินการได้ทั้งรับและส่งข้อมูล
            4. ช่องทางสื่อสาร (Transmission Channel) หมายถึงการเชื่อมต่อรูปแบบใดๆ เช่น สายโทรศัพท์  ใยแก้วนำแสง สายโคแอกเซียล  หรือแม้แต่การสื่อสารแบบไร้สาย
            5. ซอฟท์แวร์การสื่อสารซึ่งทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมการรับส่งข้อมูลและอำนวยความสะดวกในการสื่อสาร


หน้าที่ของระบบโทรคมนาคม

        ทำหน้าที่ในการส่งและรับข้อมูลระหว่างจุดสองจุด  ได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) และ ผู้รับข่าวสาร (Receiver) จะดำเนินการจัดการลำเลียงข้อมูลผ่านเส้นทางที่มีประสิทธิภาพที่สุด     จัดการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จะส่งและรับเข้ามา สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลให้ทั้งสองฝ่ายสามารถเข้าใจได้ตรงกัน  ซึ่งที่กล่าวมานี้ส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวจัดการ ในระบบโทรคมนาคมส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูลข่าวสารต่างชนิด ต่างยี่ห้อกัน  แต่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้เพราะใช้ชุดคำสั่งมาตรฐานชุดเดียวกัน กฎเกณฑ์มาตรฐานในการสื่อสารนี้เราเรียกว่า  “โปรโตคอล (Protocol)”  อุปกรณ์แต่ละชนิดในเครือข่ายเดียวกันต้องใช้โปรโตคอลอย่างเดียวกัน จึงจะสามารถสื่อสารถึงกันและกันได้  หน้าที่พื้นฐานของโปรโตคอล คือ   การทำความรู้จักกับอุปกรณ์ตัวอื่นที่อยู่ในเส้นทางการถ่ายทอดข้อมูล  การตกลงเงื่อนไขในการรับส่งข้อมูล  การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การแก้ไขปัญหาข้อมูลที่เกิดการผิดพลาดในขณะที่ส่งออกไปและการแก้ปัญหาการสื่อสารขัดข้องที่อาจเกิดขึ้นโปรโตคอลที่รู้จักกันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต เช่น  Internet Protocal ; TCP/IP , IP  Address ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้


ประเภทของสัญญาณ
-      สัญญาณแอนะล็อก(analog signal)
- สัญญาณดิจิทัล(digital signal)

ตัวกลางหรือช่องทางการสื่อสาร
- ช่องสื่อสาร(communication channels) หมายถึง รูปแบบใดๆ ที่สามารถนำมาใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณข้อมูลจากอุปกรณ์ตัวหนึ่งในระบบเครือข่ายไปยังอุปกรณ์อีกตัวหนึ่ง
- สื่อต่างๆ ที่ใช้ได้แก่ สายคู่บิดเกลียว สายโคแอ็กเซียล สายใยแก้วนำแสง สัญญาณไมโครเวฟ สัญญาณผ่านดาวเทียม และสัญญาณไร้สายแบบต่างๆ
ความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูล
- ปริมาณข้อมูลที่ส่งผ่านช่องสื่อสารใดๆ มีหน่วยวัดเป็น บิตต่อวินาที(bits per second : bps)
- ช่วงคลื่นสัญญาณที่รวมกันอยู่ในช่องสื่อสารหนึ่งช่อง เรียกว่า ความกว้างของช่องสื่อสาร(bandwidth) ช่วงคลื่นที่กว้างมากหมายถึงช่องสัญญาณที่กว้างมาก สามารถส่งข้อมูลปริมาณมากได้ในเวลาอันรวดเร็ว
- มัลติเพล็กเซอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้สื่อหรือช่องสื่อสารขนาดใหญ่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ระบบเครือข่ายสื่อสาร
Topology หมายถึงโครงสร้างของเครือข่าย แบ่งออกเป็น
 ระบบเครือข่ายดาว
- ระบบเครือข่ายบัส
- ระบบเครือข่ายวงแหวน
PBX-- LAN--WAN
- PBX(Private Branch Exchange) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดพิเศษที่ออกแบบมาสำหรับจัดการบริหารการเชื่อมต่อวงจรโทรศัพท์จากสายนอกเข้ากับสายโทรศัพท์ภายในองค์กรอย่างอัตโนมัติ
- ระบบเครือข่ายเฉพาะที่(Local Area Network:LAN)เป็นระบบเครือข่ายบริเวณไม่กว้างมากนัก เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กและอุปกรณ์ต่อพ่วง และอุปกรณ์สื่อสารเข้าด้วยกันโดยมีช่องทางสื่อสารเป็นของตนเอง มีซอฟต์แวร์เครือข่ายเป็นของตนเองเฉพาะเรียกว่าNOS(Network Operating System)
PBX-- LAN--WAN
- ระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง(Wide Area Network:WAN) เป็นระบบที่มีขอบเขตการใช้งานกว้างขวางมาก เช่นการเชื่อมต่อระบบระหว่างสาขาของธนาคาร เป็นต้น
บริการอื่นบนระบบเครือข่าย
- Package Switching
- Frame Relay
- Integrated Services Digital Network : ISDN
- DSL
Package Switching
การแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนเล็กๆ มีขนาดเท่ากันทั้งหมดเรียกว่า packet  แต่ละแพ็กเก็ตจะมีข้อมูลอยู่ และถูกส่งออกไปหลายๆ เส้นทางภายในอินเทอร์เน็ตจนกว่าจะถึงปลายทาง เมื่อถึงปลายทางแล้วจะมีซอฟต์แวร์ในการรวมแพ็กเก็ตต่างๆ เข้าด้วยกันเหมือนข้อมูลก่อนส่งทุกประการ
Frame Relay
 เป็นบริการที่ใช้งานระบบเครือข่ายร่วมกันแบบหนึ่งที่มีความเร็วในการทำงานสูง  มีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าระบบแพ็กเก็ตสวิตซ์ ส่วนมากมักจะใช้ร่วมกับสายใยแก้วนำแสง
- ระบบนี้จัดข้อมูลเป็นขนาดเล็กๆ คล้ายแพ็กเก็ตแต่ไม่มีข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบขณะที่ส่งและแก้ไขข้อผิดพลาด
Integrated Services Digital Network : ISDN
- มาตรฐานใหม่สำหรับการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์ที่รวมให้บริการทั้ง เสียง ข้อมูล กราฟิก และวิดีโอ ในสายโทรศัพท์เดียงคู่สายเดียว
- ระดับพื้นฐานสามารถส่งข้อมูลได้ที่ความเร็ว 128 kbps

ระบบโบราณ[แก้]

บทความหลัก : Hydraulic telegraph, Drums in communication, Beacon, Smoke signal, and Heliograph
ระบบสัญญาณแสงด้วยไฮดรอลิคของกรีกถูกนำมาใช้เป็นช่วงต้นของศตวรรษที่ ก่อนคริสต์ศักราช ระบบนี้ทำงานด้วยตัวเปิดปิดและสัญญาณที่ตามองเห็น ทำหน้าที่เหมือนโทรเลขแสง อย่างไรก็ตาม มันจะสามารถใช้ประโยชน์ในช่วงระยะทางที่จำกัดมากของข้อความที่ถูกกำหนดล่วงหน้า และ เช่นเดียวกับทุกโทรเลขแสงที่สามารถถูกนำไปใช้งานได้ในสภาพการมองเห็นที่ดีเท่านั้น[10]
ในระหว่างยุคกลาง แถวของกระโจมไฟถูกนำมาใช้โดยทั่วไปบนแนวยอดเขาเพื่อใช้เป็นวิธีการถ่ายทอดสัญญาณ แถวกระโจมไฟประสบอุปสรรคเพราะว่าพวกมันจะสามารถส่งได้บิตเดียวของข้อมูล เพื่อให้ความหมายของข้อความเช่น"มองเห็นศัตรู" ต้องมีการตกลงกันไว้ล่วงหน้า ตัวอย่างหนึ่งที่น่าสังเกตในการใช้งานของพวกมันคือในระหว่าง the Spanish Armada เมื่อแถวกระโจมไฟถ่ายทอดสัญญาณจากพลีมัธไปลอนดอน ที่ส่งสัญญาณการมาถึงของเรือรบสเปน[11]
ข้อมูลเพิ่มเติม: Optical communication

ระบบตั้งแต่ยุคกลาง[แก้]


ในปี ค.ศ. 1792 Claude Chappe, วิศวกรชาวฝรั่งเศสได้สร้างระบบโทรเลขภาพอยู่กับที่ (หรือ semaphore line)เป็นครั้งแรกระหว่างเมืองลีลและปารีส[12] อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ได้รับความทุกข์ทรมานเนื่องจากต้องการใช้ผู้ใชังานที่มีความเชี่ยวชาญและหอสูงที่มีราคาแพงทุกๆระยะ 10-30 กิโลเมตร (6-20 ไมล์). อันเป็นผลมาจากการแข่งขันกับโทรเลขไฟฟ้าสาย โทรเลขแสงเชิงพาณิชย์ชุดสุดท้ายของยุโรปในประเทศสวีเดนถูกทอดทิ้งในปี ค.ศ. 1880[13]

โทรเลขและโทรศัพท์[แก้]

บทความหลัก : โทรเลขสายเคเบิลสื่อสารใต้น้ำและประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์
การทดลองหลายครั้งในการสื่อสารด้วยไฟฟ้าเริ่มขึ้นประมาณปี 1726 ในตอนต้นไม่ประสบความสำเร็จ นักวิทยาศาสตร์ รวมทั้ง Laplace, Ampère และ Gauss มีส่วนเกี่ยวข้อง ระบบโทรเลขด้วยไฟฟ้าที่ใช้งานได้จริงถูกเสนอในเดือนมกราคม ค.ศ. 1837 โดยวิลเลียม Fothergill Cooke ผู้ที่พิจารณาว่ามันเป็นการปรับปรุง"โทรเลขแม่เหล็กไฟฟ้า"ที่มีอยู่เดิมการปรับปรุงระบบห้าเข็ม-หกสายที่ถูกพัฒนาร่วมกับ ชาร์ลส์ วีทสโตน เข้าสู่การใช้ในเชิงพาณิชย์ในปี ค.ศ. 1838[14] ระบบโทรเลขในตอนต้นใช้สายไฟหลายสายเชื่อมต่อไปยังเข็มชี้หลายๆเข็ม
นักธุรกิจ ซามูเอล F.B. มอร์ส และนักฟิสิกส์ โจเซฟ เฮนรี ของสหรัฐฯได้พัฒนาระบบโทรเลขไฟฟ้ารุ่นที่เรียบง่ายของพวกเขาขึ้นมาเองอย่างอิสระ มอร์สประสบความสำเร็จในการแสดงให้เห็นถึงการใช้ระบบนี้เมื่อวันที่ กันยายน ค.ศ. 1837 การสนับสนุนทางเทคนิคที่สำคัญที่สุด ของมอร์สในระบบโทรเลขนี้เป็นเรื่องง่ายและมีประสิทธิภาพสูง รหัสมอร์สได้รับการพัฒนาร่วมกันกับเพื่อนของเขา อัลเฟรด เวล ซึ่งเป็นการก้าวหน้าที่สำคัญเหนือกว่าระบบที่ซับซ้อนมากกว่าและมีราคาแพงกว่าของ Wheatstone และจำเป็นต้องใช้เพียงแค่สายไฟสองเส้นเท่านั้น ประสิทธิภาพการสื่อสารของรหัสมอร์สนำหน้ารหัส Huffman ในการสื่อสารแบบดิจิตอลกว่า 100 ปี แต่มอร์สและเวลก็พัฒนารหัสได้หมดข้อสังเกต โดยใช้รหัสสั้นกว่าสำหรับตัวอักษรที่ใช้บ่อยๆ
สายเคเบิลโทรเลขถาวรข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นครั้งแรกประสบความสำเร็จใน 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1866 ช่วยให้มีการสื่อสารด้วยไฟฟ้าข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นครั้งแรก[15] สายเคเบิล ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกก่อนหน้านี้ได้ดำเนินการมาไม่กี่เดือนในปี 1859 และในหมู่สิ่งอื่นๆ มันขนส่งข้อความทักทายไปมาระหว่างประธานาธิบดีเจมส์ บูคานัน ของสหรัฐฯกับสมเด็จพระราชินีวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
อย่างไรก็ตาม สายเคเบิลที่ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นครั้งแรกได้ล้มเหลวในไม่ช้า และ โครงการที่จะวางสายแทนถูกเลื่อนออกไปเป็นเวลาห้าปีเนื่องจากสงครามกลางเมืองอเมริกา สายโทรศัพท์แรกที่ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก(ซึ่งประกอบด้วยตัวขยายอิเล็กทรอนิกส์หลายร้อยชุด) ไม่ได้ใช้งานจนกระทั่งปี ค.ศ. 1956 เพียงหกปีก่อนที่ดาวเทียมสื่อสารเชิงพาณิชย์ดวงแรกคือเทลสตาร์จะปล่อยขึ้นสู่วงโคจรในอวกาศ[16]
โทรศัพท์ธรรมดาที่ใช้งานทั่วโลกในปัจจุบันได้รับการจดสิทธิบัตรเป็นครั้งแรกโดย Alexander Graham Bell ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1876[17] สิทธิบัตรครั้งแรกอันนั้นของเบลล์เป็นสิทธิบัตรหลักของโทรศัพท์ จากสิทธิบัตรนี้สิทธิบัตรอื่นๆ ทั้งหมดสำหรับอุปกรณ์โทรศัพท์ไฟฟ้าและคุณสมบัติอื่นก็เริ่มไหลออกมา เครดิตสำหรับการประดิษฐ์โทรศัพท์ไฟฟ้าได้รับการโต้แย้งบ่อยๆและการถกเถียงใหม่เกี่ยวกับปัญหาได้เกิดขึ้นตลอดเวลา. เช่นเดียวกับสิ่งประดิษฐ์ที่ยิ่งใหญ่อื่นๆ เช่นวิทยุ,โทรทัศน์หลอดไฟและดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ที่จะมีหลายนักประดิษฐ์ที่ได้ทำการทดลองบุกเบิกในการส่งผ่านเสียงทางสายที่ และปรับปรุงความคิดของกันและกัน อย่างไรก็ตาม นักประดิษฐ์ที่สำคัญคืออเล็กซานเดอ แกรฮ์ม เบลล์และการ์ดิเนอ กรีน ฮับบาร์ด ผู้ที่จัดตั้งบริษัทโทรศัพท์บริษัทแรกชื่อBell Telephone Company ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็น American Telephone & Telegraph (AT&T) ณ เวลานั้นเป็นบริษัทโทรศัพท์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
บริการโทรศัพท์ในเชิงพาณิชย์ครั้งแรกถูกจัดตั้งขึ้นมาในปี 1878 และ 1879 บนทั้งสองด้านของ มหาสมุทรแอตแลนติก ในเมือง New Haven มลรัฐคอนเนคติกัทและลอนดอนประเทศอังกฤษ. [18][19]

วิทยุสื่อสารและโทรทัศน์[แก้]


ในปี ค.ศ. 1832 เจมส์ Lindsay ได้สาธิตในชั้นเรียนแสดงโทรเลขไร้สายผ่านตัวนำไฟฟ้าที่เป็นน้ำให้กับนักเรียนของเขา ในปี ค.ศ. 1854 เขาก็สามารถที่จะแสดงให้เห็นถึงการส่งสัญญาณข้ามอ่าว Firth of Tay จาก ดันดีสกอตแลนด์ไปยังวูดเฮเวนระยะประมาณสองไมล์ (กิโลเมตร)อีกครั้งโดยใช้น้ำเป็นสื่อกลางในการส่งผ่าน[20] ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1901 Guglielmo มาร์โคนี จัดตั้งการสื่อสารไร้สายระหว่าง เซนต์จอห์น, Newfoundland กับ Poldhu ในคอร์นวอลล์ (อังกฤษ) เขาได้รับรางวัลโนเบลในสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1909 ร่วมกับ คาร์ล Braun[21]
เมื่อ 25 มีนาคม ค.ศ. 1925 จอห์น โลจี แบร์ด แห่งสก็อตแลนด์สามารถแสดงการส่งภาพเคลื่อนไหวที่ห้างสรรพสินค้า Selfridge's ในกรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ ระบบของบาร์ดพึ่งพา การหมุนอย่างรวดเร็วของจาน Nipkow และทำให้มันกลายเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นโทรทัศน์เครื่องกล มันกลายเป็นพื้นฐานของการทดลองออกอากาศที่ทำโดย British Broadcasting Corporation เริ่ม 30 กันยายน ค.ศ. 1929[22] อย่างไรก็ตาม สำหรับส่วนใหญ่ของศตวรรษที่ 20, ระบบโทรทัศน์ได้รับการออกแบบ โดยใช้หลอดรังสีแคโทด ที่ประดิษฐ์คิดค้นโดย คาร์ล Braun. รุ่นแรกของโทรทัศน์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อรักษาสัญญาถูกผลิตโดย Philo Farnsworth ชาวอเมริกัน และมันถูกสาธิตให้ ครอบครัวของเขาในไอดาโฮเมื่อวันที่ กันยายน ค.ศ. 1927[23]
อย่างไรก็ตาม โทรทัศน์ไม่ได้เป็นแต่เพียงเทคโนโลยีอันหนึง มันถูกจำกัดขั้นพื้นฐานและการใช้งานในทางปฏิบัติของมัน มันทำหน้าที่เป็นทั้งเครื่องใช้และยังเป็นสื่อกลางการเล่าเรื่องทางสังคม และการเผยแพร่ข้อความ มันเป็นเครื่องมือทางวัฒนธรรมที่ให้ประสบการณ์ของชุมชนของการได้รับข้อมูลและการได้รับประสพการณ์ทางจินตนาการ มันจะทำหน้าที่เป็น "หน้าต่างสู่โลก" โดย การเชื่อมผู้ชมจากทั่วทุกมุมผ่านการเขียนโปรแกรมของเรื่องราวต่างๆชัยชนะและโศกนาฏกรรม ที่อยู่นอกประสพการณ์ส่วนตัว[24]

โทรศัพท์ภาพ[แก้]

การพัฒนาของโทรศัพท์ภาพเกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของเทคโนโลยีต่างๆที่ เปิดใช้งานการใช้วิดีโอแสดงสดพร้อมกับการสื่อสารโทรคมนาคมของเสียง แนวคิดของ โทรศัพท์ภาพเป็นที่นิยมครั้งแรกในช่วงปลายยุค 1870s ทั้งในสหรัฐอเมริกาและยุโรป แม้ว่าวิทยาศาสตร์พื้นฐานที่จะยอมให้มีการทดลองด่วนที่สุดจะใช้เวลาเกือบครึ่งศตวรรษจึงจะสำเร็จได้ เรื่องนี้เป็นตัวเป็นตนครั้งแรกในอุปกรณ์ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นโทรศัพท์วิดีโอหรือโทรศัพท์ภาพและมันวิวัฒนาการมาจากการวิจัยอย่างเข้มข้นและการทดลองในสาขาการสื่อสารโทรคมนาคมที่หลายหลายเช่น โทรเลขไฟฟ้าโทรศัพท์วิทยุและ โทรทัศน์
การพัฒนาของเทคโนโลยีวิดีโอที่สำคัญครั้งแรกเริ่มต้นในช่วงครึ่งหลังของปี 1920s ในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา กระตุ้นสะดุดตาโดยจอห์น โลจี แบร์ด และ AT&T Bell Labs เรื่องนี้เกิดขึ้นเป็นส่วนๆ อย่างน้อยโดย AT&T เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเสริมการใช้งานของโทรศัพท์ องค์กรจำนวนมากเชื่อว่า videotelephony จะดีกว่าการสื่อสารด้วยเสียงธรรมดา อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีวิดีโอจะถูกนำไปใช้ในการแพร่ภาพโทรทัศน์ระบบอนาล็อกอีกนานก่อนที่มันจะเป็น จริงหรือเป็นที่นิยมสำหรับ videophones
Videotelephony ถูกพัฒนาควบคู่ไปกับระบบโทรศัพท์เสียงทั่วไปจากกลางถึงปลายศตวรรษที่ 20 เฉพาะในศตวรรษที่ 20 กับการกำเนิดของตัวแปลงสัญญาณวิดีโอ codecs ที่มีประสิทธิภาพและบรอดแบนด์ความเร็วสูง ทำให้มันกลายเป็นเทคโนโลยีในทางปฏิบัติที่เป็นประโยชน์สำหรับ การใช้งานปกติ. ด้วยการปรับปรุงและความนิยมอย่างรวดเร็วของอินเทอร์เน็ต มันแพร่หลายอย่างกว้างขวางผ่านการใช้ในการประชุมทางวิดีโอและเว็บแคม ซึ่งมักใช้กับโทรศัพท์อินเทอร์เน็ต และในธุรกิจ ในที่ซึ่งเทคโนโลยีทางไกลได้ช่วยลดความจำเป็นในการเดินทาง
ดาวเทียมของสหรัฐดวงแรกเพื่อการสื่อสารอยู่ในโครงการ SCORE เมื่อ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1958[25] ซึ่งใช้ เทปบันทึกเสียงในการจัดเก็บและส่งต่อข้อความเสียง มันถูกใช้ในการส่งคำอวยพรคริสมาสต์ ไปทั่วโลกจากประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ดไวต์ ดี ไอเซนฮาวร์ ในปี ค.ศ. 1960 นาซ่าส่ง ดาวเทียม Echo; บอลลูนฟิล์ม PET อะลูมิเนียมยาว 100 ฟุต (30 เมตร) ทำหน้าที่เป็นกระจกสะท้อนแสงแบบพาสซีฟสำหรับการสื่อสารวิทยุ ดาวเทียม Courier 1B สร้างโดย Philco, ก็ถูกส่งขึ้นไปในปี 1960 เช่นกัน โดยเป็นดาวเทียมทวนสัญญาณแบบแอคทีฟดวงแรกของโลก
ดาวเทียมเทลสตาเป็นดาวเทียมดวงแรกที่ใช้งานถ่ายทอดโดยตรงในเชิงพาณิชย์ เป็นของ AT & T ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงระหว่างชาติ ระหว่าง AT & T, Bell Telephone Laboratories, นาซ่าการไปรษณีย์อังกฤษ และการไปรษณีย์แห่งชาติฝรั่งเศส เพื่อพัฒนาการสื่อสารดาวเทียม Relay 1 ถูกส่งขึ้นไปเมื่อ 13 ธันวาคม 1962 และกลายเป็นดาวเทียมดวงแรก ที่จะส่งสัญญาณออกอากาศข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อ 22 พฤศจิกายน 1963 .
แอพพลิเคชี่นอันแรกและเป็นประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่สุดสำหรับการสื่อสารดาวเทียมคือระบบโทรศัพท์ทางไกลระหว่างทวีป เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะแบบ Switched อยู่กับที่ (อังกฤษfixed Public Switched Telephone Networkหรือ PSTN ถ่ายทอดการใช้โทรศัพท์ที่โทรจากสาย โทรศัพท์บนพื้นดินไปที่สถานีบนดินจากนั้นสัญญาณจะถูกส่งไปยังจานรับบนดาวเทียม ผ่านทางดาวเทียม geostationary ในวงโคจรของโลก เนื่องจากการปรับปรุงสายสื่อสารใต้น้ำ โดยการใช้ใยแก้วนำแสง ทำให้การใช้งานดาวเทียมสำหรับโทรศัพท์อยู่กับที่ในปลายศตวรรษที่ 20 ลดลงไปบ้าง แต่ดาวเทียมยังคงให้บริการเฉพาะหมู่เกาะที่ห่างไกล เช่นเกาะ Ascension, เซนต์เฮเลน่าซานดิเอโก การ์เซียและเกาะอีสเตอร์ ที่ที่ไม่มีสายเคเบิลใต้น้ำให้บริการได้ นอกจากนี้ยังมีบางทวีปและพื้นที่บางส่วนของประเทศที่การสื่อสารโทรคมนาคมโทรศัพท์พื้นฐานเป็นเรื่องยากที่จะให้บริการได้ เช่น แอนตาร์กติกาภูมิภาคขนาดใหญ่ของออสเตรเลียอเมริกาใต้ แอฟริกาทางเหนือของแคนาดาจีนรัสเซียและ กรีนแลนด์
หลังจากที่บริการเชิงพาณิชย์ของโทรศัพท์ทางไกลถูกก่อตั้งขึ้นผ่านทางดาวเทียมสื่อสาร เจ้าภาพของการสื่อสารโทรคมนาคมในเชิงพาณิชย์อื่นๆได้พัฒนาการใช้ดาวเทียมที่คล้ายกัน โดยเริ่มต้นในปี 1979 บริการรวมถึงโทรศัพท์มือถือผ่านดาวเทียมวิทยุผ่านดาวเทียมโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม การพัฒนาเริ่มแรกที่สุดสำหรับบริการดังกล่าวส่วนมากเกิดขึ้นใน ปี 1990 ในขณะที่การกำหนดราคาเชิงพาณิชย์สำหรับช่องสัญญาณดาวเทียมยังคงลดลงอย่างมีนัยสำคัญ

digital cinema[แก้]

โรงภาพยนตร์ดิจิตอลหมายถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการแจกจ่ายหรือส่งภาพเคลื่อนไหวขึ้นจอภาพ ซึ่งตรงข้ามกับการส่งภาพเดลื่อนไหวแบบเก่า ภาพยนตร์สามารถถูกแจกจ่ายผ่านฮาร์ดไดรฟ์, Internet, ส่งผ่านดาวเทียมหรือดิสก์แสงเช่นดีวีดีและ Blu-ray ภาพยนตร์ดิจิตอลแตกต่างจากโทรทัศน์ความละเอียดสูงและไม่ได้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของโทรทัศน์หรือมาตรฐานของวิดีโอความละเอียดสูง เช่นอัตราส่วนหรืออัตราการเปลี่ยนเฟรมของภาพ ภาพยนตร์ดิจิตอลจะใช้ความคมชัดในแนวราบที่ 2K (2048 × 1080 หรือ 2.2 ล้านพิกเซล) หรือ 4K (4096 × 2160 หรือ 8.8 ล้านพิกเซล)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[แก้]

เมื่อวันที่ 11 กันยายนค.ศ. 1940 จอร์จ Stibitz สามารถส่งข้อมูลโดยใช้โทรพิมพ์ไปที่เครื่องคำนวณตัวเลขที่ซับซ้อนของเขาในนิวยอร์กและได้รับผลการคำนวณกลับมาที่วิทยาลัยดาร์ตเมัท์ในรัฐนิวแฮมป์เชียร์[26] การทำงานจากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์เมนเฟรมด้วย "dumb terminal "ยังคงความนิยมไปตลอดทศสตวรรษที่ 1950 จนเข้าสู่ศตวรรษที่ 1960 ที่นักวิจัยเริ่มหันมาใช้แพ็กเกตสวิตชิง - เทคโนโลยีที่ช่วยให้ข้อมูลสามารถถูกส่งระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันโดยไม่ต้องผ่านเมนเฟรมส่วนกลาง เครือข่ายสี่โหนดโผล่ขึ้นมาเมื่อ ธันวาคมค.ศ. 1969 เครือข่ายนี้ไม่ช้าก็กลาย ARPANET ซึ่งในปี 1981 ประกอบด้วยโหนด 213โหนด[27]
อาร์พาเนตถูกพัฒนาไปจนกระทั่ง เมษายน ค.ศ. 1969 RFC 1 (Request for Comment) ถูกตีพิมพ์ กระบวนการนี้มีความสำคัญเนื่องจากอาร์พาเนตในที่สุดก็จะรวมกับเครือข่ายอื่น ๆ ในรูปแบบอินเทอร์เน็ตและหลายโพรโทคอลการสื่อสารอินเทอร์เน็ตที่ถูกใช้งานในวันนี้ได้รับการระบุผ่านขั้นตอน RFC ในเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1981 RFC 791 นำเสนอ Internet Protocol version 4 (IPv4) และ RFC 793 นำเสนอ Transmission Control Protocol (TCP) ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้
อย่างไรก็ตาม ไม่ทั้งหมดที่การพัฒนาที่สำคัญจะถูกสร้างขึ้นมาผ่านขั้นตอนการขอความเห็น สองโพรโทคอลที่นิยมสำหรับการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายท้องถิ่นหรือLAN ก็ปรากฏตัวขึ้นในปี ค.ศ. 1970 สิทธิบัตรสำหรับโพรโทคอล token ring ถูกแจกแจงโดย โอลอฟ Soderblom เมื่อ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1974 และบทความเกี่ยวกับอีเธอร์เน็ตโพรโทคอลเรื่อง การสื่อสารของ ACM ถูกตีพิมพ์โดย โรเบิร์ต เม็ทคาล์ฟและเดวิด บ็อกส์ในกรกฎาคม ค.ศ. 1976 อีเธอร์เน็ตโพรโทคอลที่ได้รับแรงบันดาลใจจากโพรโทคอล ALOHAnet ได้รับการพัฒนาโดยนักวิจัยด้านวิศวกรรมไฟฟ้าที่มหาวิทยาลัยฮาวาย

แนวคิดหลัก[แก้]

องค์ประกอบพื้นฐาน[แก้]

ระบบสื่อสารโทรคมนาคมขั้นพื้นฐานประกอบด้วยสามหน่วยงานหลักที่มักจะนำเสนอในบางรูปแบบ ได้แก่:
·         เครื่องส่งสัญญาณที่จะรับข้อมูลมาและแปลงให้เป็นสัญญาณ
·         ตัวกลางในการส่งสัญญาณหรือ"ช่องทาง"(อังกฤษchannelเช่นช่องว่างอิสระ(อังกฤษfree space channelเช่น อากาศ
·         เครื่องรับที่จะรับสัญญาณจากช่องสัญญาณและแปลงกลับเป็นข้อมูลเดิม
ตัวอย่างเช่น ที่สถานีวิทยุกระจายเสียง จะมีเครื่องขยายเสียงเป็นเครื่องส่งสัญญาณ ส่งสัญญาณให้เสาอากาศ เสาอากาศส่งสัญญาณออกไปในตัวกลางคืออากาศ สายอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณที่ส่งมานี้ ส่งไปให้เครื่องขยายเสียง และมีเสียงออกมาที่บ้านผู้ฟัง ระบบนี้ทำงานแบบ ซิมเพล็กซ์ คือ ทางเดียว ผู้รับตอบกลับไม่ได้
ระบบโทรคมนาคมอีกระบบจะทำงานแบบ ดูเพล็กซ์ คือ สองทาง โดยมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานเป็นทั้งเครื่องส่งและรับ เรียกว่า ทรานซีฟเวอร์ ตัวอย่างเช่นเครื่องโทรศัพท์มือถือเป็น ทรานซีฟเวอร์
ระบบโทรคมนาคมเพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคลเป็นการสื่อสารจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง (point-to-point) ระบบโทรคมนาคมสำหรับวิทยุหรือโทรทัศน์เป็นการสื่อสารแบบออกอากาศ(broadcast หรือ point-to-multipoint) เพราะเป็นการส่งสัญญาณจากเครื่องส่งเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องรับหลายเครื่อง
นอกจากระบบซิมเพล็กซ์ และ ดูเพล็กซ์ แล้ว ยังมีระบบ มัลติเพล็กซ์ซึ่งใช้ในกรณีที่มีเครื่องส่งหลายเครื่อง ทำงานกับเครื่องรับหลายเครื่อง แต่ใช้ช่องทางเดียวกัน การแชร์ช่องทางทำให้ลดค่าใช้จ่ายได้มาก สัญญาณของแต่ละเครื่องส่งจะถูกมัลติเพล็กซ์ แล้วส่งผ่านตัวกลางไปที่สถานีย่อย หรือโหนด ที่นั่น สัญญาณจะถูกแยกออกไปยังเครื่องรับอย่างถูกต้อง

การสื่อสารแบบแอนะล็อกและแบบดิจิทัล[แก้]

สัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารสามารถเป็นได้ทั้งแอนะล็อกหรือดิจิทัล สำหรับสัญญาณแอนะล็อกสัญญาณจะแปรอย่างต่อเนื่องไปตามข้อมูล ในสัญญาณดิจิทัลข้อมูลจะถูกเข้ารหัสเป็นชุดของค่าที่ไม่ต่อเนื่อง (เช่นชุดของหนึ่งและศูนย์) ในระหว่างที่สัญญาณของข้อมูลถูกส่งออกไปและรับเข้ามา ข้อมูลที่มีอยู่ในสัญญาณแอนะล็อกหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะถูกลดสภาพลงเนื่องจากการรบกวนทางกายภาพที่ไม่พึงประสงค์ (สัญญาณที่ถูกส่งออกจากเครื่องส่งในทางปฏิบัติจะไม่มีเสียงรบกวน) ปกติแล้วเสียงรบกวนในระบบการสื่อสารสามารถเป็นได้ทั้งเพิ่มเข้าหรือลบออกจากสัญญาณที่พึงประสงค์ในการสุ่มที่สมบูรณ์ รูปแบบของเสียงรบกวนนี้จะเรียกว่าเสียงเติมแต่งด้วยความเข้าใจว่าเสียงรบกวนจะเป็นลบหรือบวกแล้วแต่จังหวะที่แตกต่างกันของเวลา
ในทางตรงกันข้าม ถ้าเสียงรบกวนเติมแต่งมีไม่เกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลที่มีอยู่ในสัญญาณดิจิทัลจะยังคงเหมือนเดิม ความต้านทานในเสียงรบกวนของระบบดิจิทัล ทำให้เป็นข้อได้เปรียบที่สำคัญของสัญญาณดิจิทัลเหนือกว่าสัญญาณแอนะล็อก.

เครือข่ายโทรคมนาคม[แก้]

อ่านเพิ่มเติม: เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายการสื่อสารประกอบด้วยเครื่องส่งสัญญาณเครื่องรับและช่องทางที่ใช้ส่งข้อความ บางเครือข่ายการสื่อสารมีมากกว่าหนึ่งเราต์เตอร์(route=ทาง, router=ตัวส่งตัวสร้างทาง)ที่ทำงานร่วมกันในการส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้ที่ถูกต้อง นอกจากเราเตอร์แล้ว ยังมีสวิตช์ เพื่อใช้ต่อผู้ใช้หลายตัวเข้าด้วยกันด้วย

ช่องทางการสื่อสาร[แก้]

คำว่า "ช่องทาง" มีสองความหมายที่แตกต่างกัน
1.             ในความหมายแรกคือช่องทางที่เป็นสื่อทางกายภาพที่ใช้ส่งสัญญาณระหว่างเครื่องส่งและรับ ตัวอย่างเช่น อากาศในการส่งสัญญาณด้วยเสียงใยแก้วนำแสงสำหรับส่งสัญญาณด้วยแสง,สาย coaxial สำหรับส่งสัญญาณด้วยกระแสไฟฟ้าและ อากาศสำหรับส่งสัญาณด้วยแสงที่มองเห็นได้ หรือเป็นคลื่นอิน​​ฟราเรด แสงอัลตราไวโอเลต และคลื่นวิทยุ ช่องทางสุดท้ายนี้เรียกว่า "free space channel" หมายถึงที่ว่างใดๆ ที่อาจเป็นอากาศหรือสุญญากาศก็ได้ เช่นการส่งคลื่นวิทยุผ่านทาง free space channel นั่นคือ การส่งไปในที่ว่างใดๆ เพราะคลื่นวิทยุเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สามารถเดินทางได้ดีในสุญญากาศเท่าๆกับเดินทางในอากาศ หมอก เมฆ หรือแก๊สบางชนิดที่ไม่ใช่อากาศ
2.             ในอีกความหมายของ "ช่อง" ในกิจการโทรคมนาคม คือคำว่าช่องสื่อสาร ซึ่งเป็นส่วนย่อยของตัวกลางที่ใช้ส่งหลายๆกระแสข้อมูลไปพร้อมๆกัน ตัวอย่างเช่น สถานีวิทยุหนึ่งสามารถออกอากาศคลื่นวิทยุเข้าไปใน free space ที่ความถี่ในย่าน 94.5 MHz ในขณะที่สถานีวิทยุ อื่นสามารถออกอากาศพร้อมกันด้วยคลื่นวิทยุที่มีความถี่ในย่าน 96.1 MHz แต่ละสถานีจะส่ง คลื่นวิทยุด้วยความกว้างหรือแบนด์วิดท์ประมาณ 180 kHz โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ความถี่ดังกล่าวข้างต้นซึ่งถูกเรียกว่า"ความถี่คลื่นพาห์" แต่ละสถานีในตัวอย่างนี้จะถูกแยกออกจากสถานีที่อยู่ใกล้เคียง ห่าง200 kHz และความแตกต่างระหว่าง 200 khz และ 180 kHz (20 kHz)เป็นค่ายอมรับได้ทางด้านวิศวกรรมสำหรับความไม่สมบูรณ์ของระบบการสื่อสาร เมื่อมีผู้ใช้ ใช้ตัวกลางในการสื่อสารร่วมกัน ความถี่ของเครื่องส่งของแต่ละผู้ใช้ ในตัวอย่างข้างต้น "free space channel" ถูกแบ่งออกเป็นสองช่องสื่อสารตามความถี่ และแต่ละช่องมีการกำหนดความถี่ของแบนด์วิดท์ให้แยกจากกันในการออกอากาศคลื่นวิทยุ ระบบการแบ่งสื่อกลางให้เป็นช่องทางตามความถี่นี้เรียกว่า การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (อังกฤษFrequency Division Multiplexหรือ FDM
อีกวิธีหนึ่งในการแบ่งสื่อกลางการสื่อสารให้เป็นหลายๆช่อง คือการจัดสรรเวลาให้แต่ละผู้ส่งข้อมูลให้ออกมาที่สื่อกลางได้เฉพาะในเวลาที่กำหนดให้เท่านั้น (เรียกว่า "time slot" เช่น 20 milliseconds ของทุกๆวินาที) วิธีนี้เรียกว่า การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา(อังกฤษTime Division Multiplexหรือ TDM ตัวกลางที่ใช้วิธีนี้คือใยแก้วนำแสง บางระบบการสื่อสารด้วยวิทยุจะใชั TDM ภายในช่อง FDM ที่ถูกจัดสรรให้ ดังนั้นระบบเหล่านั้นจึงเป็นพันธ์ผสมของ TDM และ FDM

การกล้ำสัญญาณ (Modulation)[แก้]



อินเทอร์เน็ต คืออะไร
อินเทอร์เน็ต(Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย สำหรับคำว่า internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คำ คือ คำว่า Inter และคำว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคำว่า Net มาจากคำว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนำความหมายของทั้ง 2 คำมารวมกัน จึงแปลว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย IP (Internet protocal) Address คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกันในinternet ต้องมี IP ประจำเครื่อง ซึ่ง IP นี้มีผู้รับผิดชอบคือ IANA (Internet assigned number authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น Public address ที่ไม่ซ้ำกันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ สำหรับทวีปเอเชียคือ APNIC (Asia pacific network information center) แต่การขอ IP address ตรง ๆ จาก APNIC ดูจะไม่เหมาะนัก เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เชื่อมต่อด้วย Router ซึ่งทำหน้าที่บอกเส้นทาง ถ้าท่านมีเครือข่ายของตนเองที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก็ควรขอ IP address จาก ISP (Internet Service Provider) เพื่อขอเชื่อมต่อเครือข่ายผ่าน ISP และผู้ให้บริการก็จะคิดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อตามความเร็วที่ท่านต้องการ เรียกว่า Bandwidth เช่น 2 Mbps แต่ถ้าท่านอยู่ตามบ้าน และใช้สายโทรศัพท์พื้นฐาน ก็จะได้ความเร็วในปัจจุบันไม่เกิน 56 Kbps ซึ่งเป็น speed ของ MODEM ในปัจจุบัน
IP address คือเลข 4 ชุด หรือ 4 Byte เช่น 203.158.197.2 หรือ 202.29.78.12 เป็นต้น แต่ถ้าเป็นสถาบันการศึกษาโดยทั่วไปจะได้ IP มา 1 Class C เพื่อแจกจ่ายให้กับ Host ในองค์กรได้ใช้ IP จริงได้ถึง 254 เครื่อง เช่น 203.159.197.0 ถึง 203.159.197.255 แต่ IP แรก และ IP สุดท้ายจะไม่ถูกนำมาใช้ จึงเหลือ IP ให้ใช้ได้จริงเพียง 254 หมายเลข
1 Class C หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.255.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 254
1 Class B หมายถึง Subnet mask เป็น 255.255.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 66,534
1 Class A หมายถึง Subnet mask เป็น 255.0.0.0 และแจก IP จริงในองค์กรได้สูงสุด 16,777,214
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
1 เป็นแหล่งข้อมูลที่ลึก และกว้าง เพราะข้อมูลถูกสร้างได้ง่าย แม้นักเรียน หรือผู้สูงอายุก็สร้างได้
2 เป็นแหล่งรับ หรือส่งข่าวสาร ได้หลายรูปแบบ เช่น mail, board, icq, irc, sms หรือ web เป็นต้น
3 เป็นแหล่งให้ความบันเทิง เช่น เกม ภาพยนตร์ ข่าว หรือห้องสะสมภาพ เป็นต้น
4 เป็นช่องทางสำหรับทำธุรกิจ สะดวกทั้งผู้ซื้อ และผู้ขาย เช่น e-commerce หรือบริการโอนเงิน เป็นต้น
5 ใช้แทน หรือเสริมสื่อที่ใช้ติดต่อสื่อสาร ในปัจจุบัน โดยเสียค่าใช้จ่าย และเวลาที่ลดลง
6 เป็นช่องทางสำหรับประชาสัมพันธ์สินค้า บริการ หรือองค์กร
ประวัติความเป็นมา
1 ประวัติในระดับนานาชาติ
- อินเทอร์เน็ต เป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2503(ค.ศ.1960)
- พ.ศ.2512(ค.ศ.1969) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedyและเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง และในปีพ.ศ.2512 นี้เองได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จาก 4 แห่งเข้าหากันเป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลองแอนเจลิส สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาร์บารา และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสำเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีพ.ศ.2518(ค.ศ.1975) จึงเปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบให้แก่ หน่วยงานการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ(Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทำงานที่รับผิดชอบบริหารเครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก IAB(Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ใน Internet IETF(Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่งเป็นการทำงานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น
- พ.ศ.2526(ค.ศ.1983) DARPA ตัดสินใจนำ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ทำให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตได้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกำหนดที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform และสื่อสารกันได้ถูกต้อง
- การกำหนดชื่อโดเมน(Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ พ.ศ.2529(ค.ศ.1986) เพื่อสร้างฐานข้อมูลแบบกระจาย(Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทำฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บwww.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูลของเว็บที่ลงท้ายด้วยth ทั้งหมด เป็นต้น
- DARPA ได้ทำหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง พ.ศ.2533(ค.ศ.1990) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ(National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน
- ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกำหนดมาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ตัดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่นTCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
2 ประวัติความเป็นมาอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
- อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย เริ่มต้นเมื่อปีพ.ศ.2530(ค.ศ.1987) โดยการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ระหว่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(http://www.psu.ac.th)และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (http://www.ait.ac.th)ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย(http://www.unimelb.edu.au) แต่ครั้งนั้นยังเป็นการเชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ (Dial-up line) ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้า และไม่เสถียร จนกระทั่ง ธันวาคม ปีพ.ศ.2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC) ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 6 แห่ง เข้าด้วยกัน (Chula, Thammasat, AIT, Prince of Songkla, Kasetsart and NECTEC) โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่า ไทยสาร(http://www.thaisarn.net.th) และขยายออกไปในวงการศึกษา หรือไม่ก็การวิจัย การขยายตัวเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2537 มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมถึง 27 สถาบัน และความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตของเอกชนมีมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย (http://www.cat.or.th) เปิดโอกาสให้ภาคเอกชน สามารถเป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP - Internet Service Provider) และเปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สามารถเชื่อมต่อ Internet ผ่านผู้ให้บริการที่ได้รับอนุญาตจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย


โทรศัพท์เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่มีพัฒนาการกว่า 100 ปี อเล็กซานเดอร์เกรแฮลเบล เป็นผู้พัฒนา และก่อตั้งบริษัทโทรศัพท์ ให้บริการครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกาพัฒนาการของโทรศัพท์เริ่มจากการใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ซึ่งต้องใช้สายทองแดง มากมายมหาศาล ปัจจุบันทั่วโลกมีโทรศัพท์มากกว่า 800 ล้านเลขหมาย และกำลังเพิ่มขึ้น จนหลายครั้งการวัดดัชนี การพัฒนาของประเทศประการหนึ่งจึงใช้จำนวนเลขหมายต่อประชากร 100 คน ในประเทศที่พัฒนาแล้วมีระบบโทรศัพท์ มากกว่า 50 เลขหมายต่อประชากร 100 คน สำหรับในประเทศไทยจำนวนการใช้โทรศัพท์ได้เพิ่มขึ้นจนมีตัวเลขเกือบ 20 เลขหมายต่อประชากร 100 คน นับเป็นการพัฒนาที่รวดเร็วในระยะ 10 ปีหลังนี้เอง
สิ่งที่เข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาระบบโทรศัพท์และเพิ่มจำนวนผู้ใช้มากอีกทางหนึ่งคือ โทรศัพท์มือถือหรือเรียกว่า โมบายโฟน โทรศัพท์มือถือจัดได้ว่าเป็นเทคโนโลยีไร้สาย (wireless technology) โทรศัพท์มือถือได้เริ่มพัฒนาใช้ ครั้งแรกที่โตเกียวและชิคาโก ในปี ค.ศ. 1987 จากนั้นได้แพร่หลาย อย่างรวดเร็วและหากพิจารณาเฉพาะในประเทศไทย พบว่าความนิยมใช้โทรศัพท์มือถือมีใช้กันมากและแพร่หลาย
พัฒนาการของโทรศัพท์มือถือที่ใช้เทคโนโลยีไร้สาย มีการพัฒนาที่รวดเร็วมาก ปัจจุบันมีระบบการแบ่งเป็นเซลครอบคลุม พื้นที่ โดยหากเราเคลื่อนที่อยู่ในเซลใด เราก็จะติดต่อย้ายสถานีเบสที่เซลนั้น และเพื่อให้การใช้งานร่วมกับเครือข่าย โทรศัพท์ปกติได้ดี ยังมีผู้พัฒนาระบบพีซีที PCT-Personal Communication Telephone ที่จัดให้มีเซลขนาดเล็ก ครอบคลุมพื้นที่ ทำให้การใช้งานแบบไร้สายได้ง่ายแต่หากมีการเคลื่อนที่เร็ว ๆ แล้วย้ายเซล การสวิตซ์ระหว่างเซลอาจ ทำไม่ทัน ทำให้การใช้ระบบพีซีทีจำกัดในเรื่องการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงผิดกับระบบโทรศัพท์มือถือแบบปกติที่มี ขนาดใหญ่กว่ามาก
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปที่ 1 การใช้ระบบไร้สายจำเป็นต้องแบ่งพื้นที่เซลและติดต่อกับสถานี
รูปที่ การใช้ระบบไร้สายจำเป็นต้องแบ่งพื้นที่เซลและติดต่อกับสถานี
เมื่อเทคโนโลยีทางด้านโทรศัพท์ไร้สายมีพัฒนาการก้าวหน้าเร็วมีการแข่งขันสูง จึงมีผู้พัฒนาให้ก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้น จนขยายขอบเขตของเซลทำได้หลายแบบ เช่น ให้เซลเคลื่อนที่ โดยใช้ดาวเทียมวงโคจรต่ำเป็นสถานีเบส และมี ดาวเทียมวิ่งรอบโลกจำนวนมาก เช่น ระบบอิริเดียมที่ใช้ดาวเทียม 66 ดวง อย่างไรก็ตามระบบดาวเทียมมีต้นทุนสูง การพัฒนาให้ครอบคลุมพื้นที่โลกยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร เพราะระบบการสื่อสารบนพื้นโลกมีระบบที่เรียกว่า GSM-Global System for Mobilization เป็นระบบโทรศัพท์เซลลูล่าแบบปกติที่มีต้นทุนต่ำกว่าให้บริการได้ครอบคลุม ทั่วโลกเช่นกัน คาดกันว่าภายในปี พ.ศ. 2547 จะมีผู้ใช้ระบบ GSM ทั่วโลกถึงกว่า 750 ล้านคน การใช้งานระบบนี้จะ ทำให้การติดต่อสื่อสารที่ใด ๆ ก็ได้บนพื้นโลก และยังสามารถพกพาติดตัวไปได้ ไม่มีขีดจำกัด
การที่เทคโนโลยีไร้สายมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเพราะการสื่อสารรูปแบบใหม่เป็นการสื่อสารแบบดิจิตอล งบประมวล ผลเชิงเลขของซีพียูทำได้เร็วมาก ระบบการบีบอัดข้อมูล ระบบการถอดรหัส การเข้ารหัสต่าง ๆ ทำได้ดีมาก สามารถอัด ข้อมูลดิจิตอลเข้าในช่องสัญญาณข้อมูลที่แคบ ๆ ได้
นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาระบบแลน แบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย ซึ่งคาดว่าระบบอินเทอร์เน็ตไร้สายนี้จะเป็นมิติใหม่ของ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และเข้ามามีบทบาทที่สำคัญ โดยไปรวมกับเทคโนโลยีสื่อสารทางเสียงคือโทรศัพท์กับอินเทอร์เน็ต ดูจะมีแนวทางที่เป็นไปได้และจะได้พบเห็นโทรศัพท์บนอินเตอร์เน็ตในไม่ช้านี้
กล่าวกันว่าเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารกำลังก้าวเข้าหากันและในที่สุดจะรวมกันเป็นหนึ่งเดียว ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ก็จะมีระบบสื่อสารและคอมพิวเตอร์ร่วมด้วยเช่นกัน
เทคโนโลยีเน้นความคล่องตัว จากพีซีตั้งโต๊ะก็กลายเป็นแลปทอป โน้ตบุค ปาล์ม และกำลังเป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพา ที่ประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางขึ้น จากระบบโทรศัพท์หรือระบบสื่อสารก็กำลังกลายเป็นโมบาย เป็นโทรศัพท์แบบพกพา ติดตัว (พีซีที)

การใช้งานเน้นความสะดวก ระบบโมบายคอมพิวติ้ง ทำให้การทำธุรกิจนอกองค์กรเกิดขึ้นได้ ระบบโมบาย นำระบบข้อมูลผสมกับเสียงและกำลังก้าวเข้าสู่อินเทอร์เน็ต ทำให้เราเรียกเข้าหาอินเทอร์เน็ตเป็นแบบ any time, any where และ any one
สิ่งที่น่าสนใจในเรื่องเทคโนโลยีคือ ระบบไร้สาย (wireless) ไร้สายทำให้อีคอมเมิร์ซ (ecommerce) กลายมาเป็น เอ็มคอมเมิร์ซ (mcommerce) เป็นการทำธุรกรรมย่านระบบไร้สาย เช่น ใช้โทรศัพท์มือถือ ใช้ wireless lan ใช้ปาล์ม ทอปการดำเนินธุรกิจทำได้กว้างขวาง เช่น การติดต่อสื่อสาร อีเมล ส่งข้อมูล ใช้เป็นการติดต่อฝ่ายระบบสื่อสารเพื่อทำ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น จ่ายค่าสาธารณูปโภค จองตั๋ว ซื้อสินค้า ฯลฯ
การใช้ระบบไร้สาย สำหรับอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า wireless IP กำลังเป็นเส้นทางการพัฒนาที่สำคัญ มีการพัฒนาให้ระบบโทรศัพท์มือถือใช้โปรโตคอล IP พัฒนาระบบแลนอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย ตามมาตรฐาน IEEE802.11 ซึ่งสามารถใช้ระบบไร้สายที่ความเร็วถึง 11 เมกะบิตต่อวินาที
โครงสร้างของระบบไร้สายมีลักษณะเหมือนเครือข่ายแลนทั่วไป กล่าวคือมีระบบแลนเซิร์ฟเวอร์ซึ่งเป็น DHCP-Dynamic Host Configuration Protocol เป็นตัวกลางที่ทำให้คอมพิวเตอร์ไคลแอนต์ต่าง ๆ ติดต่อได้ DHCP เซิร์ฟเวอร์จึง เปรียบเสมือนศูนย์กลางของเซลที่ทำหน้าที่ติดต่อกับเครื่องลูกคล้ายระบบพีซีที DHCP จะจ่ายหมายเลข IP ให้กับเครื่อง ลูกและติดต่อสื่อสารกันได้ โดยเครื่องลูกจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่าน DHCP เข้าสู่อินเทอร์เน็ต
ระบบไร้สายเป็นระบบสร้างความสะดวกให้กับผู้ใช้ เพราะสามารถเคลื่อนที่และยังสามารถใช้ที่ใดก็ได้โดยต้องอยู่ในเซล ที่ DHCP ส่งสัญญาณไปถึง ลักษณะนี้จึงทำให้เซลในองค์กรและให้บุคลากรในองค์กรใช้ผ่านระบบไร้สายนี้ได้
เมื่อให้ระบบโทรศัพท์มือถือและปาล์มทอป ที่มีจอภาพขนาดเล็กเชื่อมต่อ และเรียกใช้อินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายได้ จึงมี การสร้างโปรโตคอลให้รองรับการประยุกต์ใช้กับโทรศัพท์มือถือ เราเรียกโปรโตคอลใหม่นี้ว่า WAP-Wireless Application Protocol
WAP เป็นโปรโตคอลแบบประยุกต์แบบเดียวกับ http ที่ใช้กับ www โดยเน้นให้ WAP เป็นมาตรฐานเปิด มีการเชื่อม โยงกันได้ทั่วโลกและต้องไม่ใช้กับอุปกรณ์ เพราะสามารถใช้ได้ทั้งคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ลักษณะของ WAP
ลักษณะของ WAP มีโปรโตคอลที่ทำให้เครื่องไคลเอนต์วิ่งเข้าหาเซิร์ฟเวอร์ได้ เหมือนการใช้อินเทอร์เน็ต โดยเซิร์ฟเวอร์อยู่บนอินเทอร์เน็ตและใช้บนโปรโตคอล TCP/IP การใช้ WAP จึงเป็นโปรโตคอลที่วิ่งไปบน IP เหมือนกับ การใช้ระบบอินเตอร์เน็ตทั่วไปและใช้ร่วมกับการประยุกต์อื่นได้ โมเดลการใช้ระบบ WAP เขียนเป็นรูปแบบได้ดังนี้
การพัฒนาระบบ WAP เซิร์ฟเวอร์จึงเหมือนกับ www หรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ แต่การจัดโครงสร้างข้อมูลเน้นให้ เรียกใช้ผ่านจอขนาดเล็กของระบบมือถือได้ ดังนั้นจึงต้องสร้างโปรโตคอลพิเศษ
แต่เพื่อให้การทำระบบร่วมกันระหว่าง WAP กับ www จึงมีการสร้างของมาตรฐานพิเศษที่เรียกว่า XML-Extended Marked Up Language เพื่อใช้กำหนดข้อมูลบนเวํบ และมีตัวแปลที่เรียกว่าXSL-Extended Style Language เป็น ตัวแปลเพื่อใช้กับระบบมือถือหรือระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้เงื่อนไขต่างกันคือใช้ WML-Wap Marked Up Language หรือ HTML โครงสร้างของระบบการพัฒนาข้อมูลจึงเป็นดังรูป


XML บทบาทที่สำคัญ
เพื่อให้การรวมกันของเว็บ (web) กับ wap จะเกิดขึ้นได้ จำเป็นที่จะต้องสร้างมาตรฐานทางด้านการเขียนข้อมูลที่มีความ ละเอียดและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เหมาะ HTML เป็นมาร์กเกอร์หรือเป็นแท็ก (tag) ที่กำกับข้อมูล เพื่อใช้แสดงบนจอภาพ คอมพิวเตอร์การแสดงผลบนจอภาพคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ผู้พัฒนาเรื่องเว็บโดยเน้นการแสดงผลบนหน้าจอที่มีความ ละเอียดประมาณ1,000 x 1,000 จุด แต่ระบบหน้าจอของโทรศัพท์หรือเครื่องปาล์มมีความละเอียดต่างกันมาก
ระบบแท็ก ระบบใหม่จึงต้องมีรายละเอียดการกำกับมากขึ้นและที่สำคัญคือระบบข้อมูลในอนาคตต้องรองรับระบบการใช้ ของใหม่ ๆ ได้อีกมาก เช่น ระบบการทำดัชนี ระบบการปรับแต่งข้อมูลแบบอัตโนมัติ ระบบการแสดงผลแบบไดนามิกส์ ระบบการแสดงผลความต้องการ หรือการใส่ระบบอัจฉริยะให้กับราวเซอร์ต่าง ๆ จะกระทำได้ง่ายขึ้น
ด้วยเหตุนี้จึงมีการวางมาตรฐานใหม่ทางด้าน HTML โดยขยายขอบเขตของแท็กให้กว้างขวางขึ้น ระบบที่ขยายเพิ่มเติม นี้เรียกว่า XML มาตรฐาน XML จึงเป็นมาตรฐานการแสดงเนื้อหาบนเครือข่ายที่จะต้องรองรับทั้งระบบที่เป็นคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ



ระบบที่ต้องคำนึงถึง
การสร้างเครือข่ายไร้สายกระทำได้ไม่ยาก แต่ระบบดังกล่าวอาจสร้างปัญหาหลายอย่างตามมา ดังจะเห็นได้จากระบบ โทรศัพท์มือถือในยุคแรกปัญหาใหญ่อยู่ที่การจูนมือถือ หรือพวกมิจฉาชีพกระทำการมิชอบในการแอบใช้หรือสร้างปัญหา ให้กับผู้ใช้การลักลอบจูนมือถือกระทำได้ง่ายเพราะระบบมีการส่งด้วยสัญญาณวิทยุซึ่งสามารถดักฟังสัญญาณวิทยุนี้ได้จาก ทุกหนทุกแห่ง
เพื่อป้องกันในเรื่องนี้ จึงมีการพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยของระบบ ซึ่งเป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้งานมีความมั่นใจมาก ยิ่งขึ้น การเข้ารหัสและการสร้างรหัสรักษาความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สายเป็นเทคนิคขั้นสูง ทั้งนี้เพราะระบบรหัส ถ้า เป็นระบบปกติการดักฟัง การล้วงความลับทำได้ง่าย คลื่นวิทยุเป็นคลื่นที่กระจายออกทุกทิศทาง การเก็บข้อมูลจากคลื่น วิทยุแล้วนำมาวิเคราะห์เป็นหนทางที่มิจฉาชีพดำเนินการเข้ารหัสผ่าน (password) จึงต้องเป็นระบบที่มีความซับซ้อน
อนาคตของระบบไร้สาย
คลื่นความถี่ของระบบไร้สายที่นิยมใช้อยู่ในย่านความถี่ไมโครเวฟ คือย่านจาก จิกะเฮิรตซ์ ถึง จิกะเฮิรตซ์ ช่วงความถี่ ไมโครเวฟนี้เป็นช่วงความถี่ที่เหมาะสม เพราะสามารถนำพาข้อมูลได้มาก การสื่อสารในย่านไมโครเวฟมีลักษณะเป็น เส้นตรง และมีปัญหาเรื่องสิ่งกีดขวาง ดังนั้นการสร้างเซลครอบคลุมพื้นที่จึงมีขอบเขตจำกัด
อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะมีเซลสื่อสารจำนวนมากแล้วก็ตาม การมีอุปกรณ์สวิตซ์ซึ่งเชื่อมระหว่างเซลยังต้องอาศัยพัฒนาการ ทางด้านเครือข่าย เพื่อให้การใช้งานเป็นแนวทางเดียวกัน จึงมั่นใจว่าอนาคตอุปกรณ์การสวิตช์ข้อมูลบนเครือข่ายไร้สาย ก็ยังคงใช้โปรโตคอลของอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพราะอุปกรณ์สวิตช์ซึ่งแบบ IP จะมีราคาประหยัดสุด และมีประสิทธิภาพสูง การประยุกต์บน IPเป็นไปได้กว้างขวางทั้งข้อมูล ภาพและเสียง
หนทางในอนาคตจึงต้องใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายหลักหรือถนนหลัก และมีการสร้างเซลเล็ก ๆ เชื่อมกับ อินเทอร์เน็ตแม้แต่องค์กรขนาดเล็กก็สามารถตั้งเซลของตนเองได้ เพื่อว่าสมาชิกของตนสามารถใช้อินเทอร์เน็ตแบบ ไร้สาย
ในไม่ช้าเราคงพบผู้คนถือโทรศัพท์ ปาล์มทอป หรือโน้ตบุคที่มีเสาอากาศ เมื่อเดินทางไปที่สนามบินก็ติดต่อกับเซลที่ สนามบินสามารถโหลดข้อมูลการเข้าออกของเครื่องบิน สายการบิน เมื่อเดินทางไปธนาคารก็ติดต่อเซลของธนาคาร เมื่อมามหาวิทยาลัยก็ติดต่อกับเซลของมหาวิทยาลัย นิสิตนักศึกษาอาจใช้ปาล์มทอปเครื่องเดียว ก็สามารถโหลดหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์จากเซิร์ฟเวอร์ของสถาบันการศึกษาเพื่อนำมาศึกษาหรือโหลดไฟล์พาวเวอร์พอยต์ผ่านเครือข่ายไร้สายได้ เทคโนโลยีไร้สายจึงเป็นเทคโนโลยีที่น่าจับตาดูต่อไป

บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

  บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การติดต่อของผู้บริหารมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ความมั่นคงและพัฒนาการขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารจะต้อง...